Page 130 - คู่มือการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
P. 130

ภัยแล้ง

                                  (๑)  ปรับแผนการจัดสรรน�้า รวมถึงจัดรอบเวรการใช้น�้า เพื่อการลดผลกระทบปัญหาน�้าแล้ง
                                  (๒)  สนับสนุนเครื่องจักร-เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เครื่องสูบน�้า รถบรรทุกน�้า

                                      เข้าช่วยเหลือพื้นที่ประสบภัย
                            ๓.๒  กรมฝนหลวงและการบินเกษตร ด�าเนินการปฏิบัติการฝนหลวงตามแผนปฏิบัติตามสถานการณ์

            ต่าง ๆ หรือความต้องการของเกษตรกร
                            ๓.๓  ส�านักงานปศุสัตว์จังหวัด ให้ค�าแนะน�าดูแลสุขภาพสัตว์และรักษาสัตว์ป่วย สนับสนุนเสบียงสัตว์

                            ๓.๔   ส�านักงานประมงจังหวัด ให้ค�าแนะน�าดูแลรักษาสัตว์น�้า สนับสนุนเรือประมง
                                ศัตรูพืชระบาด และโรคระบาดพืช

                               ศูนย์ติดตามและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตรจังหวัด โดยส�านักงานเกษตรจังหวัด ด�าเนินการ
                                  ๑)   ควบคุมการระบาด ให้หน่วยเคลื่อนที่เร็วร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้าประเมิน

                                      สถานการณ์พื้นที่ที่มีการระบาดอย่างใกล้ชิดและน�าข้อมูลมาใช้ในการวางแผนและเลือก
                                      วิธีการควบคุมศัตรูพืชที่เหมาะสมเพื่อควบคุมไม่ให้มีการขยายพื้นที่การระบาดต่อไป

                                  ๒)   เฝ้าระวังพื้นที่ที่ยังไม่ระบาด ให้มีการส�ารวจสถานการณ์การระบาดของศัตรูพืช
                                      อย่างสม�่าเสมอ และแจ้งเตือนการระบาดให้แก่เกษตรกร โดยประชาสัมพันธ์ผ่านทาง

                                      หอกระจายข่าวของหมู่บ้าน เมื่อเกิดการระบาดในพื้นที่ใกล้เคียง
                                  ๓)   การช่วยเหลือ ให้ประสานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขอสนับสนุนปัจจัยควบคุมศัตรูพืช

                                      เช่น สารชีวภัณฑ์และสารเคมี พร้อมให้ค�าแนะน�าเพื่อหยุดยั้งการระบาดให้อยู่ในวงจ�ากัด
                                โรคระบาดสัตว์

                                ศูนย์ติดตามและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตรจังหวัด โดยส�านักงานปศุสัตว์จังหวัด
            ด�าเนินงานขณะเกิดโรคหรือสงสัยว่าเกิดโรค ดังนี้

                                  ๑)   การสอบสวนโรค โดยใช้แบบสอบสวนโรคเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล หากไม่ใช่
                                      โรคระบาดให้ยุติการสอบสวน หากใช่หรือสงสัยให้รายงานโรคเบื้องต้น รวมทั้งเก็บตัว

                                      อย่างซีรั่ม ในกรณีที่เป็นโรคระบาดร้ายแรงห้ามเปิดผ่าซาก และด�าเนินการสอบสวนโรค
                                      โดยละเอียด

                                  ๒)   การด�าเนินการควบคุมโรคเต็มรูปแบบ โดยการประกาศเขตโรคระบาด มีการบังคับใช้
                                      กฎหมาย และระดมก�าลังหน่วยงานควบคุมโรคเฉพาะกิจ ด�าเนินการควบคุมโรค

                                      เต็มรูปแบบ
                                  ๓)   ประสานขอก�าลังสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                               โรคระบาดสัตว์น�้า ด�าเนินการ
                                  ๑)   ส�านักงานประมงอ�าเภอหรือเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบแจ้งให้ส�านักงานประมงจังหวัดทราบ

                                      และร่วมกันด�าเนินการตรวจสอบวินิจฉัยหาสาเหตุการเกิดโรคสัตว์น�้า หากไม่สามารถ
                                      ตรวจสอบหาสาเหตุได้ให้แจ้งศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน�้าจืด/ชายฝั่ง หรือสถานีเพาะ

                                      เลี้ยงสัตว์น�้าจืด/ชายฝั่ง ในพื้นที่ตรวจสอบวินิจฉัยหาสาเหตุ หากยังไม่สามารถตรวจสอบ
                                      หาสาเหตุได้ให้ด�าเนินการส่งตัวอย่างให้หน่วยงานที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบโดยตรง




               126     คู่มือกำรให้ควำมช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติด้ำนกำรเกษตร
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135